แสดง 1 ถึง 2 จาก 2 รายการ
-
รื้อสร้างมายาคติ “ความเป็นชาย” ในสังคมไทย
บทความเรื่องนี้เป็นการทบทวนการศึกษา “ความเป็นชาย” ในสังคมไทย ซึ่งมักจะตกอยู่ใต้กระบวนทัศน์แบบตะวันตก ทำให้การอธิบายและการวิเคราะห์บทบาทของผู้ชายทั้งในแง่เพศภาวะและเพศวิถีเป็นการมองแบบสูตรสำเร็จที่เกิดจากบรรทัดฐานของรักต่างเพศ (Heteronormativity) และอิทธิพลความรู้ทางวิทยาศาสตร์/ชีววิทยา
บรรทัดฐานรักต่างเพศ, เพศภาวะ, ความเป็นชาย, เฟมินิสม์, สังคมสยาม, ความศิวิไลซ์
-
เควียร์กับการวิพากษ์มานุษยวิทยากระแสหลัก
ในบทความนี้ต้องการจะชี้ให้เห็นว่ากรอบความคิดแบบเควียร์ ไม่ใช่เป็นตัวทฤษฎีที่มีไว้อธิบายว่าอะไรคือเพศภาวะและเพศวิถี หากแต่เป็นชุดความคิดหรือกระบวนทัศน์ของการตั้งคำถามเชิงญาณวิทยา (Epistemology)ว่ากระบวนการแสวงหาความรู้คืออะไร (David E. Hall, 2003, p.6.) ซึ่งจะเข้าไปตรวจสอบและวิพากษ์กระบวนทัศน์ทาง
เพศวิถี, ทฤษฎีเควียร์, มานุษยวิทยา, บรรทัดฐานรักต่างเพศ, ญาณวิทยา