แสดง 1 ถึง 5 จาก 5 รายการ
-
ความรู้และอำนาจ เบื้องหลังเซ็กและโสเภณี
บทความนี้เป็นการทบทวนการศึกษาและองค์ความรู้เกี่ยวกับโสเภณี ซึ่งมักจะถูกอธิบายด้วยทฤษฎีของเฟมินิสต์ ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ ทฤษฏีพฤติกรรมศาสตร์ ทฤษฎีเบี่ยงเบนทางเพศ มีผลทำให้สังคมเข้าใจว่าโสเภณีคือความเสื่อมเสียทางศีลธรรม ด้านหนึ่งจะมองว่าโสเภณีเป็นปัญหาสังคมที่เต็มไปด้วยการกดขี่ข่มเหง การเอารัด
เพศวิถี, เพศภาวะ, โสเภณี. เซ็ก, ทุนนิยม, บริโภคนิยม, เฟมินิสต์, อำนาจ, กามารมณ์
-
การทำความเข้าใจเบื้องต้นเรื่อง Queer Theory (เพศวิภาษ)
การศึกษาเรื่องเพศของมนุษย์ มีเรื่องที่ต้องทำความเข้าใจหลายระดับ ทั้งเรื่องที่จับต้องมองเห็นได้ สัมผัสได้ เช่น อวัยวะเพศ รูปร่างสรีระ การแต่งกาย กิริยาท่าทาง กับเรื่องที่มองไม่เห็นและไม่สามารถคาดเดาได้ เช่น อารมณ์ปรารถนา ความเสน่หา ความรัก กามารมณ์ สำนึก ความคิด และความเชื่อ รวมทั้งการให้คุณค่า ก
-
มานุษยวิทยากับการศึกษาพฤติกรรมข้ามเพศและรักเพศเดียวกัน
เรื่องเพศ เป็นพรมแดนที่มีเรื่องซ้อนทับกันหลายอย่าง ทั้งสรีระร่างกาย การแสดงพฤติกรรม อารมณ์ ความรู้สึก ความคิด และการให้คุณค่าและความหมายต่อสรีระและพฤติกรรมทางเพศ หรือกล่าวได้ว่าเป็นเรื่องเพศเป็นทั้งสิ่งที่จับต้องได้และจับต้องไม่ได้ แต่การศึกษาเรื่องเพศเป็นเรื่องใหม่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ก่อน
-
ทบทวนวิธีการสร้างความรู้ / ความจริงเรื่องเพศ
บทความนี้ต้องการสำรวจแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับเรื่องเพศ โดยการย้อนมองไปในแวดวงวิชาการตะวันตกที่เริ่มสนใจประเด็นเรื่องเพศมาตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่วิทยาศาสตร์กำลังมีอำนาจทางสังคม การสำรวจในที่นี้จะย้อนกลับไปมองช่วงเวลานั้นโดยอาศัยมุมมองทางมานุษยวิทยาเพื่อทำความเข้าใจ “ชีวิต
เพศวิถี, เพศศึกษา, ทฤษฎีเควียร์, มานุษยวิทยา, เพศภาวะ, สตรีนิยม, ความหลากหลายทางเพศ, จิตเวชศาสตร์
-
เควียร์กับการวิพากษ์มานุษยวิทยากระแสหลัก
ในบทความนี้ต้องการจะชี้ให้เห็นว่ากรอบความคิดแบบเควียร์ ไม่ใช่เป็นตัวทฤษฎีที่มีไว้อธิบายว่าอะไรคือเพศภาวะและเพศวิถี หากแต่เป็นชุดความคิดหรือกระบวนทัศน์ของการตั้งคำถามเชิงญาณวิทยา (Epistemology)ว่ากระบวนการแสวงหาความรู้คืออะไร (David E. Hall, 2003, p.6.) ซึ่งจะเข้าไปตรวจสอบและวิพากษ์กระบวนทัศน์ทาง
เพศวิถี, ทฤษฎีเควียร์, มานุษยวิทยา, บรรทัดฐานรักต่างเพศ, ญาณวิทยา