แสดง 1 ถึง 9 จาก 9 รายการ
-
มานุษยวิทยาของเวลา (Anthropology of Time)
งานศึกษา“เวลา”ของนักมานุษยวิทยาที่สำคัญชี้ให้เห็นว่าเมื่อเข้าไปทำงานภาคสนามและอยู่ในพื้นที่วัฒนธรรมของคนพื้นเมือง สิ่งที่ปฏิบัติในเรื่องเวลาคือการปรับตัวเข้ากับท้องถิ่น เสมือนว่ากำลังอยู่ในเวลาเดียวกับคนท้องถิ่น
-
ทฤษฎีสมคบคิดในมุมมองมานุษยวิทยา
ทฤษฎีสมคบคิดเป็นโครงสร้างของเรื่องเล่าแบบหนึ่งที่เกิดจากการรวบรวมเงื่อนงำเล็ก ๆ และข้อสงสัยเข้าด้วยกันเพื่ออธิบายการกระทำของผู้มีอำนาจที่มองไม่เห็น ซึ่งความจริงของเรื่องเล่านั้นมักเป็นปริศนาหรือไม่กระจ่างชัด
-
มานุษยวิทยากับการหันมามอง “ความไม่รู้”
ความไม่รู้ เป็นสภาวะของการขาดความรู้ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบ ตั้งแต่ความบริสุทธิ์ไร้เดียงสา ความไม่สามารถเข้าถึง รับรู้ หรือเข้าใจข้อมูลบางอย่างได้ ตลอดจนการติดอยู่ในจิตสำนึกที่ผิดพลาดซึ่งเป็นผลมาจากจุดยืนทางอุดมการณ์บางอย่าง
-
มานุษยวิทยาพ้นสังคม (Post-Social Anthropology) กับการท้าทายของมานุษยวิทยาชายขอบ
มานุษยวิทยาข้ามพ้นสังคมหมายถึงมานุษยวิทยาที่ยังไม่มีใครรู้จัก เป็นการทำความเข้าใจสิ่งที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคตแต่ไม่สามารถคาดเดาและประเมินได้อย่างแน่ชัด สิ่งนี้ทำให้เกิดการสร้างเนื้อหามานุษยวิทยาแบบใหม่
มานุษยวิทยา, มานุษยวิทยาพ้นสังคม, ชายขอบ, Post-Social Anthropology
-
ความหมาย Ethnicity ในการศึกษาEthnography
คำว่า Ethnography ในทางมานุษยวิทยา สามารถพิจารณาได้ 2 ลักษณะคือ ethnography ที่เป็นงานเขียน (ethnographic writings) กับที่เป็น วิธีการศึกษา(fieldwork) ซึ่งทั้งสองส่วนนี้มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน กล่าวคือวิธีการเก็บข้อมูลทางชาติพันธุ์ซึ่งอาศัยการสังเกต สอบถาม และคลุกคลีกับคนกลุ่มต่างๆอย่างใกล้ชิด
-
“ความต่าง” ของ “วิธีคิด” ต่อวัฒนธรรมกระแสนิยม
บทความเรื่องนี้ เป็นการทบทวนการศึกษาและการวิจัยเกี่ยวกับวัฒนธรรมป๊อป (Popular Culture) ซึ่งในที่นี้ขอเรียกว่า “วัฒนธรรมกระแสนิยม” อย่างไรก็ตาม ความหมายของวัฒนธรรมกระแสนิยมยังมีความคลุมเคลือ นักวิชาการไทยบางคนเรียกวัฒนธรรมประเภทนี้ว่า “วัฒนธรรมสมัยนิยม” โดยนัยแล้ว อาจหมายถึงว
มานุษยวิทยา, วัฒนธรรมกระแสนิยม, สื่อ, วัฒนธรรมมวลชน, วัฒนธรรมบริโภค
-
มานุษยวิทยากับการศึกษาพฤติกรรมข้ามเพศและรักเพศเดียวกัน
เรื่องเพศ เป็นพรมแดนที่มีเรื่องซ้อนทับกันหลายอย่าง ทั้งสรีระร่างกาย การแสดงพฤติกรรม อารมณ์ ความรู้สึก ความคิด และการให้คุณค่าและความหมายต่อสรีระและพฤติกรรมทางเพศ หรือกล่าวได้ว่าเป็นเรื่องเพศเป็นทั้งสิ่งที่จับต้องได้และจับต้องไม่ได้ แต่การศึกษาเรื่องเพศเป็นเรื่องใหม่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ก่อน
-
ทบทวนวิธีการสร้างความรู้ / ความจริงเรื่องเพศ
บทความนี้ต้องการสำรวจแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับเรื่องเพศ โดยการย้อนมองไปในแวดวงวิชาการตะวันตกที่เริ่มสนใจประเด็นเรื่องเพศมาตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่วิทยาศาสตร์กำลังมีอำนาจทางสังคม การสำรวจในที่นี้จะย้อนกลับไปมองช่วงเวลานั้นโดยอาศัยมุมมองทางมานุษยวิทยาเพื่อทำความเข้าใจ “ชีวิต
เพศวิถี, เพศศึกษา, ทฤษฎีเควียร์, มานุษยวิทยา, เพศภาวะ, สตรีนิยม, ความหลากหลายทางเพศ, จิตเวชศาสตร์
-
เควียร์กับการวิพากษ์มานุษยวิทยากระแสหลัก
ในบทความนี้ต้องการจะชี้ให้เห็นว่ากรอบความคิดแบบเควียร์ ไม่ใช่เป็นตัวทฤษฎีที่มีไว้อธิบายว่าอะไรคือเพศภาวะและเพศวิถี หากแต่เป็นชุดความคิดหรือกระบวนทัศน์ของการตั้งคำถามเชิงญาณวิทยา (Epistemology)ว่ากระบวนการแสวงหาความรู้คืออะไร (David E. Hall, 2003, p.6.) ซึ่งจะเข้าไปตรวจสอบและวิพากษ์กระบวนทัศน์ทาง
เพศวิถี, ทฤษฎีเควียร์, มานุษยวิทยา, บรรทัดฐานรักต่างเพศ, ญาณวิทยา