แสดง 31 ถึง 45 จาก 50 รายการ
-
การเคลื่อนที่และการหยุดนิ่ง ในการเคลื่อนย้ายศึกษา (mobility studies)
ยุคโลกาภิวัตน์ที่การเคลื่อนย้ายของสิ่งต่าง ๆ เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและซับซ้อนได้นำไปสู่ความสนใจศึกษาเรื่องการเคลื่อนย้ายในหลากหลายมิติ การเคลื่อนย้ายศึกษาจึงถือว่าเป็นกระบวนทัศน์ใหม่ที่เกิดขึ้นในสังคมศาสตร์
การเคลื่อนที่, การหยุดนิ่ง, การเคลื่อนย้ายศึกษา, mobility studies
-
มานุษยวิทยากับการศึกษาอาชญากรรม
ชวนอ่านการศึกษาอาชญากรรมในมุมมองทางมานุษยวิทยาตั้งแต่ยุคเริ่มแรกถึงปัจจุบัน ที่มีการหันมาสนใจบทบาทของ “สิ่งอื่น” นอกเหนือจากมนุษย์ ในฐานะเป็นผู้กระทำการร่วมในอาชญากรรม
-
ฟรองซัวส์ ลีโยตาร์ด และการต่อต้านมนุษยนิยม Jean-François Lyotard and Antihumanism
ความคิดปรัชญาหลังสมัยใหม่ของฌอง ฟรองซัวส์ ลีโยตาร์ด คือความคิดที่ต่อต้านมนุษยนิยม เนื่องจากความคิดแบบมนุษยนิยมเชิดชูมนุษย์ให้สูงกว่าสิ่งอื่น
ฟรองซัวส์ ลีโยตาร์ด, การต่อต้าน, มนุษยนิยม, Jean-François Lyotard, Antihumanism
-
เสียงกรีดร้องของสัตว์: Anthropomorphism จากประสบการณ์ของสัตวแพทย์
มานุษยรูปนิยม หรือ มานุษยลักษณนิยม คือแนวปฏิบัติที่มนุษย์นำเอาคุณลักษณะ พฤติกรรม และอารมณ์ของมนุษย์ไปปรับใช้กับสัตว์และสิ่งของ
-
Transhumanism, มนุษย์ภาวะ และมานุษยวิทยา
แนวคิดที่สนับสนุนให้เผ่าพันธุ์มนุษย์หลุดพ้นจากข้อจำกัดพื้นฐานตามธรรมชาติ ความแก่เฒ่า ความเจ็บป่วย และความตาย ด้วยทัศนะที่นำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาช่วยเหลือ
-
มานุษยวิทยากับการใส่ใจดูแลในโรงพยาบาล
โรงพยาบาลเป็นหนึ่งในพื้นที่สำคัญที่นักมานุษยวิทยาการแพทย์ใช้ทำความเข้าใจการใส่ใจดูแล โดยเฉพาะที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วย ซึ่งกว่า 2 ทศวรรศที่ผ่านมา แนวคิดเรื่องการใส่ใจดูแลเป็นที่ยอมรับและรู้จักอย่างกว้างขวางในแวดวงสายสังคมศาสตร์
-
มานุษยวิทยาออกแบบ ตอนที่ 2 ความสร้างสรรค์
การค้นหาคุณสมบัติสากลในความเป็นมนุษย์ นั่นคือความสร้างสรรค์ซึ่งเป็นพื้นฐานของการสร้างความเปลี่ยนแปลง
-
มานุษยวิทยาออกแบบ ตอนที่ 1 เกริ่นนำ
design anthropology เป็นสนามใหม่ของกระบวนการศึกษาทางมานุษยวิทยาและเป็นที่รู้จักทั่วไปในช่วงปี ค.ศ. 1990 ที่ให้ความสนใจกับคำถามว่าการออกแบบจะช่วยสร้างความหมายในความเป็นมนุษย์ได้อย่างไร
-
แนวคิดหลังอาณานิคม กับอัฟกานิสถาน (Postcolonialism and Afghanistan)
แนวทางการศึกษาหลังอาณานิคม (Postcolonialism) ในทางมานุษยวิทยา มุ่งตรวจสอบแบบแผนชีวิตที่เกิดขึ้นในยุคอาณานิคม (colonial life) ซึ่งคนในท้องถิ่นหรือคนพื้นเมืองมีการรับเอาวิธีคิดและวิธีปฏิบัติแบบเจ้าอาณานิคมมาใช้ในปริมณฑลต่างๆ นักมานุษยวิทยาสนใจ “ลัทธิอาณานิคมใหม่” (neocolonialism) ที่มิได้เ
การศึกษาหลังอาณานิคม, Postcolonialism, อัฟกานิสถาน, Afghanistan
-
ความรู้และอำนาจ เบื้องหลังเซ็กและโสเภณี
บทความนี้เป็นการทบทวนการศึกษาและองค์ความรู้เกี่ยวกับโสเภณี ซึ่งมักจะถูกอธิบายด้วยทฤษฎีของเฟมินิสต์ ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ ทฤษฏีพฤติกรรมศาสตร์ ทฤษฎีเบี่ยงเบนทางเพศ มีผลทำให้สังคมเข้าใจว่าโสเภณีคือความเสื่อมเสียทางศีลธรรม ด้านหนึ่งจะมองว่าโสเภณีเป็นปัญหาสังคมที่เต็มไปด้วยการกดขี่ข่มเหง การเอารัด
เพศวิถี, เพศภาวะ, โสเภณี. เซ็ก, ทุนนิยม, บริโภคนิยม, เฟมินิสต์, อำนาจ, กามารมณ์
-
สถานภาพความรู้ในการศึกษา การเคลื่อนไหวทางสังคมของชาวเกย์
การศึกษาการเคลื่อนไหวทางสังคมของชาวเกย์ มีความสำคัญในฐานะเป็นการทบทวนองค์ความรู้ แนวคิดทฤษฎี และกระบวนทัศน์ที่ปรากฎอยู่ในแวดวงวิชาการและนักเคลื่อนไหวชาวเกย์ หากจะมองในระดับปฏิบัติการจะเห็นว่าการเคลื่อนไหวทางสังคมของเกย์เป็นการต่อสู้และเรียกร้องสิทธิเสรีภาพ ความเท่าเทียมและความยุติธรรมทางสังคมของกลุ
เกย์, การเคลื่อนไหวทางสังคม, สิทธิเสรีภาพ, ความเท่าเทียม, อัตลักษณ์ทางเพศ
-
วิพากษ์ “ความเป็นหญิง” ของหญิงในร่างชาย
บทความเรื่องนี้ต้องการวิพากษ์ “ความเป็นหญิง” (Femininity) ของบุคคลที่เป็นชายใจหญิงหรือหญิงในร่างชาย หรือรู้จักโดยทั่วไปว่ากะเทย เท่าที่ผ่านมาการศึกษาพฤติกรรมและอัตลักษณ์ทางเพศของคนกลุ่มนี้มักจะวางอยู่บนสมมติฐานเรื่อง “ตัวตนที่แท้จริง” (Truth of Self) ที่ซ่อนอยู่ข้างใน ซึ่งเชื
-
ความหมาย Ethnicity ในการศึกษาEthnography
คำว่า Ethnography ในทางมานุษยวิทยา สามารถพิจารณาได้ 2 ลักษณะคือ ethnography ที่เป็นงานเขียน (ethnographic writings) กับที่เป็น วิธีการศึกษา(fieldwork) ซึ่งทั้งสองส่วนนี้มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน กล่าวคือวิธีการเก็บข้อมูลทางชาติพันธุ์ซึ่งอาศัยการสังเกต สอบถาม และคลุกคลีกับคนกลุ่มต่างๆอย่างใกล้ชิด
-
“ความต่าง” ของ “วิธีคิด” ต่อวัฒนธรรมกระแสนิยม
บทความเรื่องนี้ เป็นการทบทวนการศึกษาและการวิจัยเกี่ยวกับวัฒนธรรมป๊อป (Popular Culture) ซึ่งในที่นี้ขอเรียกว่า “วัฒนธรรมกระแสนิยม” อย่างไรก็ตาม ความหมายของวัฒนธรรมกระแสนิยมยังมีความคลุมเคลือ นักวิชาการไทยบางคนเรียกวัฒนธรรมประเภทนี้ว่า “วัฒนธรรมสมัยนิยม” โดยนัยแล้ว อาจหมายถึงว
มานุษยวิทยา, วัฒนธรรมกระแสนิยม, สื่อ, วัฒนธรรมมวลชน, วัฒนธรรมบริโภค
-
การศึกษาเกย์ในสังคมไทย : 5ทศวรรษของการสร้างความรู้
คำว่า “เกย์” เป็นคำที่มีนัยยะเชิงการเมืองและมีมิติทางประวัติศาสตร์ คำนี้เพิ่งปรากฎในสังคมตะวันตกในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 และถูกใช้เป็นคำเรียกเพื่อบ่งบอกว่าคนรักชอบเพศเดียวกันมีอัตลักษณ์เป็นอย่างไร และแตกต่างจากหญิงและชาย อย่างไรก็ตาม ในการศึกษาทางวัฒนธรรม คำว่า “เกย์” อ
สังคมไทย, เกย์, ประวัติศาสตร์, อัตลักษณ์, การศึกษา, วัฒนธรรม