แสดง 16 ถึง 30 จาก 50 รายการ
-
มานุษยวิทยากับการศึกษากลิ่น
การให้ความสนใจต่อการศึกษา “กลิ่น” ถือเป็นการศึกษาประสบการณ์ทางผัสสะ (sensory experience) ที่มีความน่าสนใจต่อการศึกษาในทางมานุษยวิทยาเป็นอย่างมาก เนื่องจากแต่เดิมกลิ่นมักจะถูกจัดให้เป็นเพียงกลไกการรับรู้ที่เฉื่อยชาหนึ่งของ “ร่างกาย (body) ” มนุษย์
-
มานุษยวิทยาเมียน้อยและการมีชู้ (Anthropology of Infidelity)
การศึกษาทางมานุษยวิทยาชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างการมีชู้กับระบบที่ให้สิทธิกับผู้ชาย ทำให้การมีเมียมากกว่าหนึ่งคนมิใช่สิ่งที่แปลกและเป็นสิ่งที่สังคมรับรู้ได้ เพราะผู้ชายเชื่อว่าผู้หญิงคือทรัพย์สมบัติส่วนตัว และมีการควบคุมผู้หญิงให้อยู่ในกฎระเบียบที่ผู้ชายกำหนดขึ้น
-
‘Solastalgia’: บาดแผลทางจิตใจจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม
นักปรัชญาสิ่งแวดล้อมเริ่มตั้งข้อสังเกตปัญหาจำนวนมากจากผลกระทบของเหมืองถ่านหินในออสเตรเลีย ความเครียดที่ถูกบอกเล่าผ่านบทสนทนาระหว่างผู้ได้รับผลกระทบทำให้เขาพัฒนาแนวคิดที่เรียกว่า ‘Solastalgia’ ขึ้น
-
มานุษยวิทยาสถาปัตยกรรม architectural anthropology
สนามศึกษาของนักมานุษยวิทยามีหลากหลาย บางครั้งก็เข้าไปศึกษาพื้นที่เดียวกันกับนักผังเมือง สถาปนิก หรือนักภูมิศาสตร์ แต่อาจเข้าไปศึกษาสิ่งที่แตกต่างกันด้วยแว่นตาที่แตกต่างกัน
-
มานุษยวิทยานิติเวชกับร่างของศพ
ในการศึกษาหลักฐานในคดีฆาตกรรม มีผู้เชี่ยวชาญหลายสาขาเข้ามาทำงาน รวมถึงนักมานุษยวิทยากายภาพ บรรพมานุษยวิทยา และพยาธิวิทยาโบราณซึ่งเข้ามาค้นหาร่องรอยและสภาพศพที่ถูกฆาตกรรม
มานุษยวิทยานิติเวช, โบราณคดีและประวัติศาสตร์, มานุษยวิทยากายภาพ
-
เราศึกษาทฤษฎี (มานุษยวิทยา) ไปทำไม: จากแว่นกระบวนทัศน์สู่กระจกสีหลังกระบวนทัศน์
การศึกษาทฤษฎีมานุษยวิทยากลายเป็นสิ่งที่น่าเบื่อหน่ายในปัจจุบัน จากความยากที่จะเข้าใจตัวบทที่เป็นนามธรรม และเพราะอิทธิพลของการนำเสนอ การจัดรูปแบบหลักสูตรที่ดึงดูดความสนใจในประเด็นเฉพาะเรื่อง
กระบวนทัศน์, ทฤษฎี, กระจกสี, หลังกระบวนทัศน์, Theory, Paradigmatic, Eye-Glasses, Post-Paradigmatic, Stained Glass
-
รื้อถอน “อาณานิคม” ทางความรู้: สังคมวิทยาความรู้กับกรณีเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา
“อาเซียนศึกษา” ที่เป็นกระแสทางภูมิปัญญาหนึ่งในช่วงทศวรรษที่ผ่านมานั้น ทำให้เราได้รู้จัก สนทนา ต่อยอดโต้เถียงกับวงวิชาการเพื่อนบ้านได้มากน้อยเพียงใด ขณะที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่เป็นกลุ่มหนึ่งของสาขาวิชาอาณาบริเวณศึกษากลายเป็นความสนใจเฉพาะกลุ่ม
การศึกษาหลังอาณานิคม, พื้นที่ความรู้, สังคมวิทยาเมืองและมานุษยวิทยาเมือง, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา
-
มานุษยวิทยากับการท่องเที่ยว Anthropology of Tourism
ความสนใจประเด็นการท่องเที่ยวในแวดวงมานุษยวิทยาเริ่มชัดเจนและจริงจังในช่วงปลายทศวรรษ 1970 นักมานุษยวิทยาพบว่าในทุกสังคมล้วนมีนักท่องเที่ยวเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งในการทำกิจกรรมในชีวิตประจำวันร่วมกับคนท้องถิ่น
-
ภาพทัศน์ทุนนิยม (Capitalocene)
คำว่า Capitalocene คือปรากฎการณ์ที่อธิบายเกี่ยวกับช่วงเวลาที่ทุนนิยมเติบโตและขยายตัวซึ่งแสดงออกให้เห็นในการเปลี่ยนสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่ถูกใช้ในกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
-
มานุษยวิทยากับจุดเปลี่ยนของความซับซ้อน (Complexity Turn)
สองทศวรรษที่ผ่านมา การฟื้นตัวใหม่ของลัทธิชีวิตนิยม กลายเป็นโจทย์ที่ท้าทายของกระบวนทัศน์เดิมที่ต้องการสร้างกฎระเบียบและความคงที่ของสรรพสิ่ง ทำให้เกิดการตั้งคำถามว่าทฤษฎีแบบลดทอน จะอธิบายสภาวะการแตกตัวละเอียดซับซ้อนลงไปเรื่อย ๆ ได้หรือไม่
-
มานุษยวิทยากับสภาวะการเปลี่ยนสภาพ (Anthropology and Plasticity)
แนวคิด plasticity เป็นความพยายามที่จะอธิบายในเชิงทฤษฎีและวิธีวิทยาในเวลาเดียวกัน ในการทำความเข้าใจวัตถุภาวะ ที่จะช่วยให้เข้าใจว่าสิ่งต่าง ๆ ล้วนมีความผันแปร
-
จังหวะกับสำนึกเชิงพื้นที่ในการเคลื่อนย้าย
นิยามโดยทั่วไปของจังหวะสามารถนำไปประยุกต์ได้กับปรากฏการณ์ที่หลากหลาย ไม่ใช่แค่ในทางดนตรี หรือศิลปะ แต่ยังรวมไปถึงการเคลื่อนย้ายซึ่งจังหวะเผยให้เห็นขณะเวลาที่หลากหลายในสถานที่หนึ่ง ๆ ซึ่งถูกรับรู้โดยการเคลื่อนย้ายแบบต่าง ๆ ด้วย
-
สัมพัทธภาพของความช้า
ความช้าหมายถึงการที่สิ่งต่าง ๆ ไม่เกิดขึ้นในขณะที่เราต้องการมัน นั่นคือความช้าไม่ได้มีแก่นสารในตัวเอง แต่เกี่ยวข้องกับความต้องการของผู้รับรู้ ตลอดจนปัจจัยอื่น ๆ อีกมากมาย
-
“การย้ายถิ่นศึกษา” กับมานุษยวิทยาในการย้ายถิ่น
ช่วงเวลาคาบเกี่ยวระหว่างปลายศตวรรษที่ 20 จนถึงต้นศตวรรษที่ 21 ถูกนิยามว่าเป็นยุคสมัยแห่งการย้ายถิ่น ซึ่งระดับและรูปแบบที่หลากหลายได้ถือกำเนิดขึ้นอย่างไม่เคยเป็นมาก่อน
-
สะท้อนความตายผ่านมานุษยวิทยา
แม้ว่าความตายอาจเป็นเรื่องส่วนบุคคลแต่หากมองในมุมของมานุษยวิทยา ความตายมีความเชื่อมโยงเกี่ยวพันต่อสังคม ชุมชน ตลอดจนประเทศ อย่างที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้